อิฐกันรังสี
โดยทั่วไปผนังห้องเอกซเรย์จะก่อด้วยอิฐมอญและฉาบด้วยปูนซีเมนต์ให้ได้ความหนาประมาณ 20-25 เซนติเมตร จึงจะมีความปลอดภัยเพียงพอที่จะกันรังสีได้ แต่การก่อผนังดังกล่าวทำให้พื้นที่ห้องลดขนาดลง เนื่องจากห้องทำงาน ทั่วไปนั้นจะมีความหนาของผนังห้องประมาณ 10-12 เซนติเมตร และอิฐมอญที่ใช้ในการก่อผนังห้องมีคุณความสา...
Main Authors: | , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | English |
Published: |
Chaing Mai University
2008-05-01
|
Series: | Journal of Associated Medical Sciences |
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/bulletinAMS/article/view/60113 |
id |
doaj-e3a811e6a9944b73a7207e6d3d2717b5 |
---|---|
record_format |
Article |
spelling |
doaj-e3a811e6a9944b73a7207e6d3d2717b52020-11-25T02:03:36ZengChaing Mai UniversityJournal of Associated Medical Sciences2539-60562539-60562008-05-01412797960113อิฐกันรังสีสุรียาพร โจไธสง0สุชาติ เกียรติวัฒนเจริญ11) นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2) ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่1) นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2) ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยทั่วไปผนังห้องเอกซเรย์จะก่อด้วยอิฐมอญและฉาบด้วยปูนซีเมนต์ให้ได้ความหนาประมาณ 20-25 เซนติเมตร จึงจะมีความปลอดภัยเพียงพอที่จะกันรังสีได้ แต่การก่อผนังดังกล่าวทำให้พื้นที่ห้องลดขนาดลง เนื่องจากห้องทำงาน ทั่วไปนั้นจะมีความหนาของผนังห้องประมาณ 10-12 เซนติเมตร และอิฐมอญที่ใช้ในการก่อผนังห้องมีคุณความสามารถในการกันรังสีไม่ดีนักดังนั้นเพื่อให้ลดความหนาผนังและสามารถกันรังสีเอ็กซ์ได้ดีกว่าผนังปกติ ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะผลิตอิฐมอญที่มีคุณสมบัติในการกันรังสีเอ็กซ์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างผนังห้องเอกซเรย์สำหรับป้องกันรังสีกระเจิงให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและผู้มารับบริการของหน่วยงานรังสีวิทยา การทำวิจัยครั้งนี้ได้ผลิตอิฐมอญที่มีส่วนผสมของ BaSO4 ในสัดส่วนต่างๆ (5-20%) แล้วนำไปทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานทางวิศวกรรม และทดสอบ คุณสมบัติในการกันรังสีเอ็กซ์โดยนำอิฐมอญที่มีส่วนผสมของ BaSO4 แต่ละสัดส่วน มาก่อเป็นกำแพงจำลองแล้วนำวัดปริมาณรังสี เพื่อสำรวจอัตรารังสีกระเจิงที่ตำแหน่งหน้ากำแพงและหลังกำแพง ที่ 50-100 kV และปรับเปลี่ยนค่า mAS เป็น 10, 20, 30 mAS เพื่อหาค่าเปอร์เซ็นต์การดูดกลืนรังสี ผลการทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานทางวิศวกรรมพบว่า อิฐมอญที่ผลิตจากเครื่องอัดแรงดันสามารถทนแรงอัดได้ดีกว่าอิฐมอญที่ผลิตจากแรงงานคน และอิฐมอญที่ผลิตจากแรงงานคนมีค่าร้อยละของการดูดกลืนน้ำสูงกว่าอิฐมอญที่ผลิตจากเครื่องอัดแรงดัน ผลการทดสอบการกันรังสี พบว่า อิฐมอญที่มีส่วนผสม BaSO4 ในสัดส่วน 5-20% เมื่อนำไปสร้างกำแพงให้มีความหนา 12 เซนติเมตรแล้ว สามารถกันรังสีให้อัตรารังสีเอ็กซ์หลังกำแพงไม่เกินค่าระดับความปลอดภัยที่กำหนด (ICRP60) คือไม่เกิน 2 mR/hr. ได้ทั้งสิ้น ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าอิฐมอญที่มีส่วนผสมBaSO4 ตั้งแต่ 5-20 % เมื่อนำไปใช้งานก่อกำแพงห้องเอกซเรย์แล้วสามารถกันรังสีเอ็กซ์ทั้งรังสีปฐมภูมิและรังสีทุติยภูมิที่ระดับค่าพารามิเตอร์การให้ปริมาณรังสีไม่เกิน 100 kV 30 mAS. วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ 2551; 41: 79-88.https://www.tci-thaijo.org/index.php/bulletinAMS/article/view/60113เปอร์เซ็นต์การดูดกลืนรังสีอิฐมอญBaSO4 |
collection |
DOAJ |
language |
English |
format |
Article |
sources |
DOAJ |
author |
สุรียาพร โจไธสง สุชาติ เกียรติวัฒนเจริญ |
spellingShingle |
สุรียาพร โจไธสง สุชาติ เกียรติวัฒนเจริญ อิฐกันรังสี Journal of Associated Medical Sciences เปอร์เซ็นต์การดูดกลืนรังสี อิฐมอญ BaSO4 |
author_facet |
สุรียาพร โจไธสง สุชาติ เกียรติวัฒนเจริญ |
author_sort |
สุรียาพร โจไธสง |
title |
อิฐกันรังสี |
title_short |
อิฐกันรังสี |
title_full |
อิฐกันรังสี |
title_fullStr |
อิฐกันรังสี |
title_full_unstemmed |
อิฐกันรังสี |
title_sort |
อิฐกันรังสี |
publisher |
Chaing Mai University |
series |
Journal of Associated Medical Sciences |
issn |
2539-6056 2539-6056 |
publishDate |
2008-05-01 |
description |
โดยทั่วไปผนังห้องเอกซเรย์จะก่อด้วยอิฐมอญและฉาบด้วยปูนซีเมนต์ให้ได้ความหนาประมาณ 20-25 เซนติเมตร จึงจะมีความปลอดภัยเพียงพอที่จะกันรังสีได้ แต่การก่อผนังดังกล่าวทำให้พื้นที่ห้องลดขนาดลง เนื่องจากห้องทำงาน ทั่วไปนั้นจะมีความหนาของผนังห้องประมาณ 10-12 เซนติเมตร และอิฐมอญที่ใช้ในการก่อผนังห้องมีคุณความสามารถในการกันรังสีไม่ดีนักดังนั้นเพื่อให้ลดความหนาผนังและสามารถกันรังสีเอ็กซ์ได้ดีกว่าผนังปกติ ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะผลิตอิฐมอญที่มีคุณสมบัติในการกันรังสีเอ็กซ์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างผนังห้องเอกซเรย์สำหรับป้องกันรังสีกระเจิงให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและผู้มารับบริการของหน่วยงานรังสีวิทยา การทำวิจัยครั้งนี้ได้ผลิตอิฐมอญที่มีส่วนผสมของ BaSO4 ในสัดส่วนต่างๆ (5-20%) แล้วนำไปทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานทางวิศวกรรม และทดสอบ คุณสมบัติในการกันรังสีเอ็กซ์โดยนำอิฐมอญที่มีส่วนผสมของ BaSO4 แต่ละสัดส่วน มาก่อเป็นกำแพงจำลองแล้วนำวัดปริมาณรังสี เพื่อสำรวจอัตรารังสีกระเจิงที่ตำแหน่งหน้ากำแพงและหลังกำแพง ที่ 50-100 kV และปรับเปลี่ยนค่า mAS เป็น 10, 20, 30 mAS เพื่อหาค่าเปอร์เซ็นต์การดูดกลืนรังสี
ผลการทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานทางวิศวกรรมพบว่า อิฐมอญที่ผลิตจากเครื่องอัดแรงดันสามารถทนแรงอัดได้ดีกว่าอิฐมอญที่ผลิตจากแรงงานคน และอิฐมอญที่ผลิตจากแรงงานคนมีค่าร้อยละของการดูดกลืนน้ำสูงกว่าอิฐมอญที่ผลิตจากเครื่องอัดแรงดัน ผลการทดสอบการกันรังสี พบว่า อิฐมอญที่มีส่วนผสม BaSO4 ในสัดส่วน 5-20% เมื่อนำไปสร้างกำแพงให้มีความหนา 12 เซนติเมตรแล้ว สามารถกันรังสีให้อัตรารังสีเอ็กซ์หลังกำแพงไม่เกินค่าระดับความปลอดภัยที่กำหนด (ICRP60) คือไม่เกิน 2 mR/hr. ได้ทั้งสิ้น ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าอิฐมอญที่มีส่วนผสมBaSO4 ตั้งแต่ 5-20 % เมื่อนำไปใช้งานก่อกำแพงห้องเอกซเรย์แล้วสามารถกันรังสีเอ็กซ์ทั้งรังสีปฐมภูมิและรังสีทุติยภูมิที่ระดับค่าพารามิเตอร์การให้ปริมาณรังสีไม่เกิน 100 kV 30 mAS. วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ 2551; 41: 79-88. |
topic |
เปอร์เซ็นต์การดูดกลืนรังสี อิฐมอญ BaSO4 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/bulletinAMS/article/view/60113 |
work_keys_str_mv |
AT surīyāphrcoṭhịsng xiṭhkạnrạngsī AT suchātikeīyrtiwạtʹhnceriỵ xiṭhkạnrạngsī |
_version_ |
1724947010566488064 |